หญ้าหนูต้น
ชื่ออื่นๆ โก่กำแล่น (ชัยภูมิ) หางไก่เถื่อน (อุบลราชธานี); มะพร้าวป่า ศรีคันไชย (เชียงใหม่) ; หญ้าหนู (ปน) หอมแดง (กลาง) ลำพัน (จันทบุรี) ศรีคันไชย (เชียงใหม่) ว่านเคียงปืน
ชื่อวิทยาศาสตร์ Dianella ensifolia (L.) DC.
ชื่อพ้อง
ชื่อวงศ์ Liliaceae
มะม่วงเบาชื่อสามัญ : Mango ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera indica L.Var. ชื่อวงศ์ : ANACARDIACEAE ชื่ออื่น : ม่วงเบา มะม่วง มะม่วงชนิดนี้เป็นพันธุ์พื้นเมืองในภาคใต้ มีถิ่นกำเนิดจากมาเลเซียและภาคใต้ของไทย นิยมปลูกและกินมาตั้งแต่สมัยโบราณ ปลูกมากแถบจังหวัดนครศรีธรรมราชต่อเนื่องจนถึงจังหวัดยะลาโดย ออกผลมากที่สุดในเดือนเมษายนของทุกปี แต่เป็นระยะสั้น มีรสเปรี้ยวเป็นเอกลักษณ์แตกต่างจากรสเปรี้ยวของผลไม้ชนิดอื่นๆ หากเป็นสายพันธุ์แท้ รสชาติจะกลมกล่อมหอมยิ่งขึ้น นิยมกินทั้งเปลือกหรือปลอกบางๆ เสลดพังพอนตัวผู้ชื่อสามัญ : Hop Headed Barleria ชื่อวิทยาศาสตร์ : Barleria lupulina Lindl. ชื่อวงศ์ : ACANTHACEAE ชื่ออื่นๆ : เสลดพังพอนตัวผู้ พิมเสนต้น ทองระอา ช้องระอา ลิ้นงูเห่า (ภาคกลาง กรุงเทพ) ก้านชั่ว ค้นชั่ว (ตาก) เช็กเชเกี่ยม ฮวยเฮียะ แกโตว่เกียง (จีน) ระกำชื่อสามัญ : Salacca ชื่อวิทยาศาสตร์ : Salacca wallichiana ชื่อวงค์ : ARECACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ระกำ เป็นพืชตระกูลปาล์ม เป็นผลไม้ชนิดเดียวกันกับสละ ต้นเป็นเหง้าทรงพุ่มเตี้ย ระกำชอบอยู่ในที่ร่มเงา มีแสงแดดรำไร ต้องให้น้ำเพียงพอ ระบายน้ำดี ปลูกช่วงแรกต้องรดน้ำทุกวัน เมื่อระกำเติบโตขึ้นก็ให้น้ำได้ตลอดไป ปลูกในฤดูฝนจะดี ควรตัดแต่งใบดอกและหน่อบ้าง ให้เหลือหน่อที่สมบูรณ์หน่อเดียว ระกำจะให้ผลผลิตใช้เวลาประมาณ 3-4 ปี จะออกผลผลิต มีเมล็ดใหญ่กว่าสละ มีรสชาติเปรี้ยวกว่าสละ มีกลิ่นหอม ระกำที่ปลูกในประเทศไทย จะปลูกกันมากในภาคตะวันออก โดยปลูกหลายสายพันธุ์ มะยงชิด หรือมะปรางชื่อสามัญ : Marian plum, Plum mango ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bouea macrophylla Griff. ชื่อวงศ์มะม่วง : ANACARDIACEAE ชื่ออื่น : บักปราง (ภาคอีสาน), มะผาง (ภาคเหนือ), ปราง (ภาคใต้) เป็นต้น ลักษณะทางพฤษศาสตร์ : มะยงชิด เป็นผลไม้ในตระกูลเดียวกับมะปราง หรือเป็นมะปรางอีกชนิดหนึ่ง ทำให้ลักษณะผลของมะยงชิดจะคล้ายคลึงกับมะปราง ผลมะยงชิด มีทั้งขนาดเล็ก ปานกลาง และขนาดใหญ่ ตามลักษณะของสายพันธุ์ที่แตกต่างกันออกไป ส่วนรสชาติหากเป็นผลดิบจะออกเปรี้ยว ถ้าผลสุกจะให้รสหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย หรือบางพันธุ์อาจมีรสหวานน้อย เปรี้ยวมากก็เป็นได้ |
ต้นพุดศุภโชคชื่อสามัญ : Gerdenia Crape Jasmine ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gardenia jasminoides. ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE ชื่ออื่นๆ : พุดศรีลังกา หรือพุดแคระ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ถิ่นกำเนิดศุภโชคเป็นต้นไม้แถบทวีปอเมริกาใต้ มีมากในตอนใต้ของประเทศแม็กซิโก , ตอนเหนือ ของประเทศบราซิล หมู่เกาะฮาวาย และตอนใต้ของประเทศฟอร์ริดา เป็นไม้ยืนต้นโตเร็ว ทรงพุ่มขนาดกลาง เป็นพืชทนต่อความแห้งแล้งได้ดี และเป็นต้นไม้ที่ให้ร่มเงาตลอดปี สามารถปลูกได้ในทุกสภาพพื้นที่ของประเทศไทย เข็มขาวชื่อสามัญ : Siamese white ixora ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ixora lucida R.Br. ex Hook.f. ชื่อวงศ์ : RUBIACEAE ชื่ออื่น : เข็มพระราม (กรุงเทพฯ), เข็มปลายสาน (ปัตตานี), เข็มขาว (นครศรีธรรมราช), เข็มขาว (ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ), เข็มไม้ (ไทย) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ยอบ้านชื่อสามัญ : Yo - baan ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda citrifolia L. ชื่อวงศ์ : Rubiaceae ลักษณะทางพฤษศาสตร์ : ไม้พุ่มขนาดเล็ก ทรงพุ่มแน่นทึบ แตกกิ่งก้านจำนวนมาก ติดดอกออกผลตลอดปี มะมุดชื่อสามัญ : Horse Mango ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera foetida Lour. ชื่อวงศ์ : ANACARDIACEAE ชื่ออื่น : มะแจ มาแจ มาจัง มาแจฮูแต (มลายูท้องถิ่น-ยะลา) มะมุด มะละมุดไทย (ภาคใต้) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : มะมุด เป็นพืชในสกุลเดียวกับมะม่วง เป็นไม้ยืนต้น สูงประมาณ 30 ถึง 40 ม. เปลือกลำต้นแตกสะเก็ดสีน้ำตาลคล้ำ ยอดเป็นทรงกระบอกหรือแผ่เป็น พุ่ม กลม เปลือกชั้นในสีน้ำตาลแดง เมื่อมีบาดแผลจะมียางสีขาวขุ่นซึมออกมา |